28 ธันวาคม 2554

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม รหัสสำหรับอักขระไทยที่ใช้กับคอมพิวเตอร์

  1. ขอบข่าย
  2. บทนิยาม
  3. แบบ
  4. การกำหนดรหัสสำหรับอักขระไทย
  5. วิธีเรียกรหัสในตารางรหัส
  6. รหัสสำหรับอักขระไทยในตารางรหัสที่ขยายต่อจากตาราง ISO 646
  7. รหัสสำหรับอักขระไทยในตารางรหัส EBCDIC



1. ขอบข่าย


1.1มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้กำหนด แบบของรหัสสำหรับอักขระไทยที่ขยายต่อจาก

ตาราง ISO 646 และรหัสสำหรับอักขระไทยในตารางรหัส EBCDIC (extended

binary coded decimal interchange code) การกำหนดรหัสอักขระไทย และ

วิธีเรียกรหัสในตารางรหัส
1.2มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้กำหนด รหัสสำหรับอักขระไทยเพื่อใช้แลกเปลี่ยนข้อมูล

ระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ การแลกเปลี่ยนนี้ให้รวมถึงการบันทึกข้อมูลในรูปรหัสลงบนสื่อ

(media) ด้วย
1.3มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ครอบคลุมเฉพาะอักขระไทย โดยยึดหลักการไม่เปลี่ยน

แปลงรหัสที่องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานได้กำหนดไว้แล้ว ตาม ISO

646 และ EBCDIC



2. บทนิยาม



ความหมายของคำที่ใช้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ มีดังต่อไปนี้
2.1อักขระ หมายถึง ตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และเครื่องหมายอื่นใดที่มีใช้ใน

ระบบคอมพิวเตอร์
2.2รหัส หมายถึง กลุ่มตัวเลขฐานสองที่ใช้แทนอักขระ
2.3ตารางรหัส หมายถึง ตารางที่ใช้สำหรับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอักขระกับรหัส
2.4อักขระไทย หมายถึง ตัวอักษรไทย ตัวเลขไทย และเครื่องหมายพิเศษ จำแนกเป็นกลุ่ม

ได้ดังนี้


2.4.1ตัวอักษรไทย




2.4.1.1
พยัญชนะ ได้แก่












































2.4.1.2
สระ ได้แก่

























(นิคหิต)
. (พินทุ)




2.4.1.3
วรรณยุกต์และทัณฑฆาต ได้แก่





และ
(ทัณฑฆาต)



-1-



มอก. 620-2533



2.4.2
ตัวเลขไทย ได้แก่











2.4.3เครื่องหมายพิเศษ




2.4.3.1
เครื่องหมายพิเศษทั่วไป ได้แก่







2.4.3.2
เครื่องหมายพิเศษเฉพาะ ได้แก่ ฿
(บาท)
๎ (ยามักการ)
๏ (ฟองมัน)





๚ (อังคั่นคู่)
และ
(โคมูตร)




หมายเหตุ
เครื่องหมาย

(นิคหิต)
. (พินทุ)และเครื่องหมายพิเศษเฉพาะให้ถือเป็นอักขระเผื่อเลือก





ที่จะนำมาใช้หรือไม่ก็ได้



3. แบบ


3.1รหัสสำหรับอักขระไทยแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ


3.1.1รหัสที่ขยายต่อจากตารางรหัส ที่กำหนดโดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ



มาตรฐาน ตาม ISO 646 ซึ่งกำหนดรหัสไว้เพียง 7 บิต โดยเพิ่มค่าในบิตที่ 8



สำหรับรหัสสำหรับอักขระไทยให้เป็น 1



บิต
    b8
    b7
    b6
    b5
    b4
    b3
    b2
    b1
น้ำหนัก
    128
    64
    32
    16
    8
    4
    2
    1


3.1.2 รหัสที่ขยายต่อจากตารางรหัส EBCDIC โดยรหัสสำหรับอักขระไทยที่กำหนดนี้จะ



กำหนดลงในช่องว่างของตารางรหัส EBCDIC



4. การกำหนดรหัสสำหรับอักขระไทย


4.1การแสดงรหัสจะแสดงเป็นตารางขนาด 16 ช่อง x 16 ช่อง โดยอาศัยวิธีการกำหนด

รหัสดังนี้


4.1.1หมายเลขแถว 0 ถึง 15 ใช้แทนรหัสเลขท้าย 4 บิต (เลข 4 บิตได้แก่ 0000



ถึง 1111) หมายเลขแถวนี้จะใช้เลขฐานสิบเป็นตัวบอกคือ 0 ถึง 15 หรือใช้เลข



ฐานสิบหกเป็นตัวบอก คือ   0,   1,   2,   3,   4,   5,   6,   7,   8,   9,   A,   B,   C,   D,
E และ   F


4.1.2 หมายเลขสดมภ์ 0 ถึง 15 ใช้แทนรหัสเลขต้น 4 บิต กำกับด้วยเลขฐานสิบหรือ



เลขฐานสิบหก เช่นเดียวกับข้อ 4.1.1


หมายเหตุในส่วนของรหัสตาม ISO 646 มีเพียง 7 บิต เมื่อนำมาแสดงโดยมีรหัสสำหรับอักขระไทยใช้



ร่วมด้วยจึงจำเป็นต้องขยายขึ้นเป็น 8 บิต โดยบิตที่ 8 ที่มีค่าเป็น 0 จะเป็นรหัส 128 ตัว



ของ ISO 646 และบิตที่ 8 ที่มีค่าเป็น 1 จะเป็นรหัสสำหรับอักขระไทย ตามวิธีการดังกล่าว



จะทำให้ตารางขยายเป็นขนาด 16 ช่อง x 16 ช่อง



อ้างอิงจาก  http://www.nectec.or.th/it-standards/std620/std620.htm











































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น